อาหาร 2019 เทรนด์รักษ์โลก-รักษ์สุขภาพมาแรง
20
พ.ย.
2561
adminipc3
6
อาหาร 2019 เทรนด์รักษ์โลก-รักษ์สุขภาพ มาแรง
งานแสดงเทคโนโลยีส่วนผสมอาห ารและเครื่องดื่ม หรือ ฟู้ด อินกรีเดียนท์ เอเชีย 2018 เผย เทรนด์ธุรกิจอาหารและเครื่อ งดื่ม ที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่มประจำปี 2019 ที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ คือ กระบวนการผลิตที่ไม่กระทบต่ อสิ่งแวดล้อม, อาหารเพื่อสุขภาพแบบทางสายก ลาง, กระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ, บรรจุภัณฑ์ที่นำกลับมาใช้ให ม่, การเติบโตของรสชาและกาแฟ, อาหารที่มีรูปลักษณ์สีสันสวยงามเหม าะกับการโพสต์ลงโซเชียลมีเด ีย อาหารสำเร็จรูปที่สะดวก ง่าย คุณภาพภัตตาคาร, อาหารมื้อหลักกำลังถูกแทนที ่ด้วยขนมขบเคี้ยว, ผลิตภัณฑ์อาหารจากท้องทะเล และเทรนด์การสร้างสินค้าแปล กใหม่ที่กำลังมาแรง
1. MINDFUL CHOICES: ผู้บริโภคมีความใส่ใจมากขึ้ นในการเลือกอาหารที่มีกระบว นการผลิตที่มีมาตรฐาน และลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแว ดล้อมอย่างยั่งยืน ซึ่งจะเห็นได้จากการที่แบรน ด์ระดับโลกเปิดตัวผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณสมบัติต่างๆ ที่ตอบโจทย์ในเรื่องเหล่านี ้มากยิ่งขึ้น
2. LIGHTER ENJOYMENT: กระแสอาหารรักสุขภาพที่ถูกพ ูดถึงอยู่บ่อยๆ นั้น ทำให้เกิดทางเลือกใหม่ในการ บริโภค ที่ผู้บริโภคยังเลือกสิ่งที ่ชอบได้เหมือนเดิมในรูปแบบอ าหารทางเลือกที่เป็นทางสายก ลาง โดยลดสารต่างๆ ลงให้เหลือในปริมาณที่พอเหม าะ ไม่เว้นแม้แต่เครื่องดื่มแอ ลกอฮอล์ ความหวาน รสชาติ เนื้อสัมผัส หรือแม้กระทั่งขนาดรับประทา น
3. POSITIVELY PROCESSED: ผู้บริโภคมองหาหลักประกันที ่ทำให้มั่นใจในกระบวนการผลิ ตอาหารมากขึ้น และผู้ผลิตบางรายก็มองเห็นโ อกาสในการชี้แจงรายละเอียด เพราะการสื่อสารและการชี้แจ งที่ชัดเจนนั้นจะยิ่งทำให้ร ู้สึกว่าสินค้ามีคุณภาพที่ด ีมากยิ่งขึ้น
4. GOING FULL CIRCLE: Circular Economy หรือเศรษฐกิจที่เน้นการนำวั ตถุดิบกลับมาใช้ใหม่แทนการผ ลิตใช้แล้วทิ้ง จะส่งผลอย่างมากในอุตสาหกรร มอาหาร โดยการใช้ทรัพยากรอย่างฉลาด และคุ้มค่าจะกลายเป็นเรื่อง จำเป็นต่อธุรกิจ และเกิดการบริโภคซ้ำ (Circular Consumtion) จะทำให้บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสล ายได้ในธรรมชาติและบรรจุภัณ ฑ์ที่นำกลับมาใช้ใหม่เป็นที ่น่าจับตามอง รวมถึงการตระหนักถึงปัญหาพล าสติกและของเสียจากอาหารที่ เพิ่มขึ้นนั้นทำให้ภาครัฐร่ วมมือในการจัดการปัญหาเหล่า นี้อย่างจริงจัง
5. BEYOND THE COFFEEHOUSE: ธุรกิจกาแฟและชา กลายเป็นสิ่งดึงดูดผู้บริโภ คในกลุ่ม Millennial และ GEN-Z ทำให้รสและส่วนผสมของชาและก าแฟนั้นขยายออกไปแทบทุกประเ ภทของอุตสาหกรรมอาหาร นอกจากนี้ รสชาติที่มากกว่าคำว่า “กาแฟ” อย่าง ลาเต้, เอสเพรสโซ่ และมัคคิอาโต้ ยังได้รับความนิยมจนได้รับพ ื้นที่บน Shelf มากขึ้น ส่วนชาก็กลายมาเป็นเครื่องด ื่มที่ให้ความพรีเมียม ให้ผู้บริโภคได้ดื่มด่ำกับร สชาติแปลกใหม่ หรือรสชาติที่ถูกปรุงขึ้นจา กการผสมผสาน
6. SAY IT WITH COLOR: การถ่ายภาพอาหารแล้วโพสต์ลง โซเซียลมีเดียกลายเป็นเรื่อ งสำคัญสำหรับผู้บริโภค ทำให้อาหารที่เต็มไปด้วยสีส ันนั้นได้รับความนิยมอย่างม าก และอาหารหรือเครื่องดื่มสวย ๆ ที่โพสต์ลงอินสตาแกรม หรือ “Instagramability” นั้นกำลังจะกลายมาเป็นกระแส หลักของวงการ ซึ่งความนิยมของตลาดในเรื่อ งสีสันนี้ได้ส่งแรงสั่นสะเท ือนไปยังโอกาสทางธุรกิจของส ีจากธรรมชาติที่มาพร้อมกับฉ ลาก Clean Label นอกจากนี้ อาหารที่ให้สีเครื่องเทศอย่ างบีทรูทหรือขมิ้น ยังได้รับการจดจำในฐานะอาหา รที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพอีก ด้วย
7. DINING OUT, IN: ผู้บริโภคกำลังมองหาอาหารที ่มีรสชาติดี ให้ประสบการณ์และคุณภาพดี เหมือนกับที่รับประทานในร้า นอาหาร แต่สามารถรับประทานเองได้ที ่บ้าน ทำให้เกิดนวัตกรรมในผลิตภัณ ฑ์อาหารเพื่อตอบสนองความต้อ งการนี้ ความแตกต่างของรูปแบบการรับ ประทานอาหารนั้นนอกจากจะส่ง มอบรสชาติที่ดีแล้วยังต้องส ่งมอบประสบการณ์ของมื้อพิเศ ษได้อีกด้วย โดยเส้นแบ่งที่จางลงระหว่าง ธุรกิจบริการอาหารและค้าปลี กนั้นจะเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ ที่เพิ่มขึ้น
8. FROM SNACKS TO MINI MEALS: เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขอ งมื้ออาหาร ที่ขับเคลื่อนจากปัจจัยเรื่ องความสะดวก สุขภาพดี และการรับประทานขนมขบเคี้ยว เป็นอาหารว่างอย่างต่อเนื่อ ง ซึ่งอุตสาหกรรมของขนมขบเคี้ ยวได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ ช่วยเพิ่มพลังงานและทดแทนมื ้ออาหารหลักได้ โดยมีวัตถุดิบหลักที่เป็นส่ วนประกอบของขนมอย่างมะเขือเ ทศขนาดเล็ก ซึ่งมีผลทำให้ตลาดมะเขือเทศ เล็กเกิดการเติบโตขึ้นเพื่อ รองรับการเติบโตของตลาดขนมข บเคี้ยวด้วยเช่นกัน
9. OCEAN GARDEN: คุณค่าทางอาหารที่อัดแน่นใน ผลิตภัณฑ์จากทะเล กำลังเพิ่มความหลากหลายทั้ง ในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม โดยพื้นที่ของเนื้อสัตว์ในผ ลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ จะถูกแทนที่ด้วยปลา เพราะผู้บริโภคลดการรับประท านเนื้อแดงลง ผลิตภัณฑ์จากสาหร่ายทะเลชนิ ดต่างๆ จะเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจนอ กจากผัก นอกจากนี้ ความเค็มในผลิตภัณฑ์จากทะเล นั้นยังสามารถแทนที่ความเค็ มจากเกลือและให้รสชาติและคุ ณภาพที่ดีขึ้นอีกด้วย
10. BOUNTIFUL CHOICE: แบรนด์ต่างๆ ถูกขับเคลื่อนด้วยอารมณ์และ ความต้องการของผู้บริโภค นำไปสู่การสร้างสินค้าที่มี ความสร้างสรรค์และมีนวัตกรร มที่ตรงกับความต้องการและรส นิยมของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้ น ซึ่งนอกจากการตลาดที่แบ่ง segments ลูกค้าแบบเดิมๆ นั้นแบรนด์ต่างๆ ยังหันมาให้ความสนใจกับรสชา ติ รูปแบบ และบรรจุภัณฑ์มากขึ้น รวมถึงการพัฒนาสินค้าแบบ OUR OF THE-BOX เพื่อรักษาการมีส่วนร่วมระห ว่างแบรนด์กับผู้บริโภค และความกระหายใคร่รู้ของผู้ บริโภคยังเป็นแรงขับเคลื่อน สำคัญที่ทำให้เกิดความหลากห ลาย และน่าตื่นตาของอุตสาหกรรมอ าหารในปัจจุบัน
CR : marketeeronline
#ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภา คที่3
งานแสดงเทคโนโลยีส่วนผสมอาห
1. MINDFUL CHOICES: ผู้บริโภคมีความใส่ใจมากขึ้
2. LIGHTER ENJOYMENT: กระแสอาหารรักสุขภาพที่ถูกพ
3. POSITIVELY PROCESSED: ผู้บริโภคมองหาหลักประกันที
4. GOING FULL CIRCLE: Circular Economy หรือเศรษฐกิจที่เน้นการนำวั
5. BEYOND THE COFFEEHOUSE: ธุรกิจกาแฟและชา กลายเป็นสิ่งดึงดูดผู้บริโภ
6. SAY IT WITH COLOR: การถ่ายภาพอาหารแล้วโพสต์ลง
7. DINING OUT, IN: ผู้บริโภคกำลังมองหาอาหารที
8. FROM SNACKS TO MINI MEALS: เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขอ
9. OCEAN GARDEN: คุณค่าทางอาหารที่อัดแน่นใน
10. BOUNTIFUL CHOICE: แบรนด์ต่างๆ ถูกขับเคลื่อนด้วยอารมณ์และ
CR : marketeeronline
#ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภา